ทฤษฎีการเรียนรู้ของฮัลส์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของฮัลส์ (Hull ’s Systematic Behavior Theory)
ฮัลส์ (Hull 1844-1952) เป็นนักจิตวิทยาชาวอเมริกัน หลักการทดลองของเขา ใช้หลักการคณิตศาสตร์มาสร้างทฤษฏีทางจิตวิทยาอย่างมีระบบ ซึ่งเป็นแบบ S-R คื่อการต่อเนื่องระหว่างสิ่งเรากับการตอบสนองโดยกล่าวถึงกระบวนการเรียนรู้ต่าง ๆ ในรูปของคณิตศาสตร์มีการวิเคราะห์แยกแยะระหว่างการจูงใจกับกลไกในการเรียนรู้ และกล่างถึงพื้นฐานของการเรียนรู้เกิดจากการเสริมแรงมากว่าการจูงใจ
หลักการเรียนรู้ของทฤษฎีทฤษฎีการเรียนรู้ชองฮัลส์ เริ่มจากสมมุติฐานโดยใช้กระบวนการอนุมาน (Deductive Process) ก่อนแล้วจึงทดลองเพื่อทดสอบสมมุติฐานและเมื่อสมมุติฐานใดที่เป็นจริงเขาก็ได้ตั้งเป็นทฤษฎีต่อไป
สมมุติฐานแรกของฮัลล์ ฮัลล์เชื่อว่าการที่มนุษย์และสัตว์จะเกิดการเรียนรู้ได้ต้องมีการสร้างแรงขับ(Drive) ได้แก่ ความหิว ความกระหาย เป็นต้น ซึ่งเขากล่าวว่า การแสดงพฤติกรรมการเรียนรู้มากหรือน้อยเกิดจากผลคูณระหว่างแรงขับ (Drive) กับอุปนิสัย (Habit) ของบุคคลนั้นเมื่อได้รับการเสริมแรง เขียนเป็นสมการได้ว่า
B = D x H
B = พฤติกรรม (Behavior)
D = แรงขับ (Drive)
H = นิสัย (Habit)
ฮัลล์เน้นการเรียนรู้ซึ่งจะเกิดขึ้นถ้าลดแรงขับ และความต้องการของร่างกาย การลดแรงขับนั้นไม่ จำเป็นต้องลดลงไปหมด เพียงแต่ลดลงไปบางส่วน การลดแรงขับมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับการพิจารณาของ รางวัล แม้จะทำให้เกิดการเรียนรู้ แต่ก็กำหนดได้ไม่แน่นอน อาจจะเป็นรางวัลจำนวนมากหรือน้อย และมี ความหมายเพียงใดย่อมขึ้นอยู่กับผู้เรียนแต่ละคน
ทฤษฎีการเรียนรู้ของฮัลส์ (Hull ’s Systematic Behavior Theory)
ฮัลส์ (Hull 1844-1952) เป็นนักจิตวิทยาชาวอเมริกัน หลักการทดลองของเขา ใช้หลักการคณิตศาสตร์มาสร้างทฤษฏีทางจิตวิทยาอย่างมีระบบ ซึ่งเป็นแบบ S-R คื่อการต่อเนื่องระหว่างสิ่งเรากับการตอบสนองโดยกล่าวถึงกระบวนการเรียนรู้ต่าง ๆ ในรูปของคณิตศาสตร์มีการวิเคราะห์แยกแยะระหว่างการจูงใจกับกลไกในการเรียนรู้ และกล่างถึงพื้นฐานของการเรียนรู้เกิดจากการเสริมแรงมากว่าการจูงใจ
หลักการเรียนรู้ของทฤษฎีทฤษฎีการเรียนรู้ชองฮัลส์ เริ่มจากสมมุติฐานโดยใช้กระบวนการอนุมาน (Deductive Process) ก่อนแล้วจึงทดลองเพื่อทดสอบสมมุติฐานและเมื่อสมมุติฐานใดที่เป็นจริงเขาก็ได้ตั้งเป็นทฤษฎีต่อไป
สมมุติฐานแรกของฮัลล์ ฮัลล์เชื่อว่าการที่มนุษย์และสัตว์จะเกิดการเรียนรู้ได้ต้องมีการสร้างแรงขับ(Drive) ได้แก่ ความหิว ความกระหาย เป็นต้น ซึ่งเขากล่าวว่า การแสดงพฤติกรรมการเรียนรู้มากหรือน้อยเกิดจากผลคูณระหว่างแรงขับ (Drive) กับอุปนิสัย (Habit) ของบุคคลนั้นเมื่อได้รับการเสริมแรง เขียนเป็นสมการได้ว่า
B = D x H
B = พฤติกรรม (Behavior)
D = แรงขับ (Drive)
H = นิสัย (Habit)
ฮัลล์เน้นการเรียนรู้ซึ่งจะเกิดขึ้นถ้าลดแรงขับ และความต้องการของร่างกาย การลดแรงขับนั้นไม่ จำเป็นต้องลดลงไปหมด เพียงแต่ลดลงไปบางส่วน การลดแรงขับมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับการพิจารณาของ รางวัล แม้จะทำให้เกิดการเรียนรู้ แต่ก็กำหนดได้ไม่แน่นอน อาจจะเป็นรางวัลจำนวนมากหรือน้อย และมี ความหมายเพียงใดย่อมขึ้นอยู่กับผู้เรียนแต่ละคน
การเรียนรู้จะเพิ่มขึ้นเป็นระยะ ซึ่งจะสะสมเพิ่มขึ้นไปเรื่อย ๆ เป็นลักษณะที่กระทำต่อเนื่องกัน การเสริมแรงจะทำให้การเรียนรู้เพิ่มความแรงและกระชับขึ้น แต่ในบางครั้งอัตราการเพิ่มจะลดลงแม้ว่าการเรียน
การเรียนรู้ของแต่ละคนมีความไม่สม่ำเสมอ มีขึ้นมีลง เพราะมีตัวแปรหลายอย่างที่มีอิทธิพลต่อการเรียนรู้
เพื่อหาวิชาที่เรียน ความพร้อมของผู้เรียน สภาพของแรงขับ ความแตกต่างระหว่างบุคคล เครื่องล่อใจเหล่านี้เป็นสิ่งเร้าที่อิทธิพลต่อการเรียนรู้ของคนเราเป็นอย่างมาก
การทดลอง
การเรียนรู้ของแต่ละคนมีความไม่สม่ำเสมอ มีขึ้นมีลง เพราะมีตัวแปรหลายอย่างที่มีอิทธิพลต่อการเรียนรู้
เพื่อหาวิชาที่เรียน ความพร้อมของผู้เรียน สภาพของแรงขับ ความแตกต่างระหว่างบุคคล เครื่องล่อใจเหล่านี้เป็นสิ่งเร้าที่อิทธิพลต่อการเรียนรู้ของคนเราเป็นอย่างมาก
การทดลอง
การทดลองที่สนับสนุนสมมุติฐานของฮัลล์ เป็นการทดลองของวิเลียม (William 1938)และเพอริน (Perin 1942) โดยมีขั้นตอนดังนี้
การทดลองของวิเลียม เป็นการฝึกให้หนูกดคานโดยแบ่งหนูออกเป็นกลุ่ม ๆ แต่ละกลุ่มได้รับการอดอาหารนานถึง 24 ชั่วโมง และมีแบบแผนในการเสริมแรงเป็นแบบตายตัวตั้งแต่ 5-90 กล่าวคือ ต้องกดคาน5 ครั้ง จึงได้รับอาหาร 1 ครั้ง เรื่อย ๆ ไป จนต้องกดคาน 90 ครั้ง จึงจะได้อาหาร 1 ครั้ง
สำหรับการทดลองของเพอริน เป็นการฝึกให้หนูกดคานเช่นเดียวกัน โดยมีวิธีการทดลองเช่นเดียวกับของวิลเลียมต่างกันตรงที่หนูทดลองของเพอรินได้รับการอดอาหารเพียง 3 ชั่วโมง
การทดลองนี้แสดงให้เห็นว่าความเข้มข้นของการแสดงพฤติกรรมการเรียนรู้ขึ้นอยู่กับแรงขับ (Drive) คือความหิวของหนูกับอุปนิสัยที่เกิดขึ้นจากการได้รับการเสริมแรง คืออาหารกับการตอบสนอง การกินอาหารยิ่งอดอาหารมาก สร้างแรงขับมาก ๆ การแสดงพฤติกรรมการเรียนรู้ (คือการกดคาน) ก็ยิ่งเข้มข้นมากขึ้นเท่านั้น
กฎการเรียนรู้ในทัศนะของฮัลล์ เข้าได้กล่าวถึงปรากฏการณ์ที่สำคัญ คือ
1. การเสริมแรง (Reinforcement) หมายถึงลักษณะการใช้รางวัลให้เกิดการลดแรงขับ การเสริม
แรงเป็นความสัมพันธ์ระหว่างแรงขับกับการได้รางวัล แรงขับเป็นสภาพความเครียด อันเป็นผลจากความต้องการส่วนรางวัลเป็นความพอใจที่สามารถสนองความต้องการในการลดแรงขับ
การเสริมแรงของเขาจึงแบ่งเป็น 2 ประเภทคือ
1.1 การเสริมแรงเบื้องต้น คือการเรียนรู้เพิ่มสิ่งที่เกิดต่อเนื่องและสะสมมากขึ้นเป็นช่วงตอนที่ไม่ได้เกิดขึ้นเฉพาะพฤติกรรมที่ต้องการแสดงออกเท่านั้น แม้ในเวลาที่ไม่มีพฤติกรรมที่สังเกตได้การเรียนรู้ก็ยังสะสมอยู่ จนในที่สุดก็ถึงขั้นที่มีพฤติกรรมเปลี่ยนไป
1.2 การเสริมแรงขั้นที่สอง เกิดจากการถ่ายโยงการเรียนรู้ ถ้าการเรียนรู้ใหม่คล้ายคลึงกับการเรียนรู้เดิม ผู้เรียนจะสามารถตอบสนองต่อการเรียนรู้ใหม่นั้น เหมือนเดิมหรือคล้ายคลึงกับเมื่อตอบสนองต่อการเรียนรู้เดิม
นอกจากนี้ยังมีองค์ประกอบอื่นที่จำเป็นในการเรียนรู้คือ
ก. ความสามารถ (Capacity) แต่ละบุคคลมีความสามารถในการเรียนรู้ต่างกันขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายอย่างเช่น เชาว์ปัญญา ความถนัด เป็นต้น
ข. การจูงใจ (Motivation) เป็นการช่วยให้เกิดพฤติกรรมการเรียนรู้ขึ้นโดยการสร้างแรงขับให้เกิดขึ้น
ในตัวผู้เรียน
ค. ความเข้าใจ (Understanding) การเรียนรู้โดยสร้างความเข้มใจในเรื่องที่เรียน เมื่อประสบปัญหาที่
คล้ายคลึงกันก็สมารถจะทำความเข้าใจโดยอาศัยประสบการณ์เดิม
ง. การลืม อัลล์อธิบายการลืมในเรื่องของการไม่ได้นำไปใช้ (Law of Disused) เมื่อเวลาผ่านไป
ผู้เรียนไม่ได้นำสิ่ง ที่ได้เรียนรู้ไปใช้ก็จะเกิดการลืมขึ้น
การนำไปใช้ในการเรียนการสอน
การนำไปใช้ในการเรียนการสอน จากกฎการเรียนรู้ตามแนวความคิดของฮัลล์ สามารถนำมาใช้ในการจัดการเรียนการสอนได้ คือ
1. ผู้สอนสร้างแรงขับให้เกิดขึ้นมาก ๆ แก่ผู้เรียนแล้วเมื่อมีการตอบสนองตามที่ต้องการ ต้องรีบ
เสริมแรงทันที จึงจะทำให้พฤติกรรมการเรียนรู้เข้มขันและคงทนถาวรอยู่เรื่อย ๆ
2.เมื่อผู้เรียนเกิดความเหนื่อยล้าในบทเรียน ควรจะมีเวลาพักก่อนแล้วจึงเรียนต่อไป ระยะเวลาที่เหมาะ
สำหรับผู้เรียนในวัยผู้ใหญ่แล้ว ที่ไม่ทำให้เกิดความเหนื่อยล้าประมาณช่วงเวลาละ 50 นาที
3.เมื่อผู้เรียนใกล้จะเรียนรู้และมีความตั้งใจมาก ควรจะให้การเสริมแรงถี่ขึ้น
4.ควรให้พยายามเรียนรู้ด้วยตนเอง จะทำให้เข้าใจใจสิ่งที่เรียนมากขึ้น และสามารถตอบสนองได้
หลายรูปแบบ
5.การให้ผู้เรียนเกอดการเรียนรู้ที่ดีต้องพิจารณาถึงสิ่งต่อไปนี้ คือความสามารถของผู้เรียนใจ
แต่ละบุคคล การสร้างความเข้าใจให้เกอดขึ้นมาก ๆ ในบทเรียนเมื่อเรียนรู้แล้วต้องให้ผู้เรียนคิดหรือกระทำ
บ่อย ๆ เพื่อป้องกันการลืม และพยายามให้ผู้เรียนรู้จักถ่ายโยงการเรียนรู้ในสิ่งที่คล้ายคลึงกันจากบทเรียนหนึ่งไปสู่อีกบทเรียนหนึ่ง
การทดลองของวิเลียม เป็นการฝึกให้หนูกดคานโดยแบ่งหนูออกเป็นกลุ่ม ๆ แต่ละกลุ่มได้รับการอดอาหารนานถึง 24 ชั่วโมง และมีแบบแผนในการเสริมแรงเป็นแบบตายตัวตั้งแต่ 5-90 กล่าวคือ ต้องกดคาน5 ครั้ง จึงได้รับอาหาร 1 ครั้ง เรื่อย ๆ ไป จนต้องกดคาน 90 ครั้ง จึงจะได้อาหาร 1 ครั้ง
สำหรับการทดลองของเพอริน เป็นการฝึกให้หนูกดคานเช่นเดียวกัน โดยมีวิธีการทดลองเช่นเดียวกับของวิลเลียมต่างกันตรงที่หนูทดลองของเพอรินได้รับการอดอาหารเพียง 3 ชั่วโมง
การทดลองนี้แสดงให้เห็นว่าความเข้มข้นของการแสดงพฤติกรรมการเรียนรู้ขึ้นอยู่กับแรงขับ (Drive) คือความหิวของหนูกับอุปนิสัยที่เกิดขึ้นจากการได้รับการเสริมแรง คืออาหารกับการตอบสนอง การกินอาหารยิ่งอดอาหารมาก สร้างแรงขับมาก ๆ การแสดงพฤติกรรมการเรียนรู้ (คือการกดคาน) ก็ยิ่งเข้มข้นมากขึ้นเท่านั้น
กฎการเรียนรู้ในทัศนะของฮัลล์ เข้าได้กล่าวถึงปรากฏการณ์ที่สำคัญ คือ
1. การเสริมแรง (Reinforcement) หมายถึงลักษณะการใช้รางวัลให้เกิดการลดแรงขับ การเสริม
แรงเป็นความสัมพันธ์ระหว่างแรงขับกับการได้รางวัล แรงขับเป็นสภาพความเครียด อันเป็นผลจากความต้องการส่วนรางวัลเป็นความพอใจที่สามารถสนองความต้องการในการลดแรงขับ
การเสริมแรงของเขาจึงแบ่งเป็น 2 ประเภทคือ
1.1 การเสริมแรงเบื้องต้น คือการเรียนรู้เพิ่มสิ่งที่เกิดต่อเนื่องและสะสมมากขึ้นเป็นช่วงตอนที่ไม่ได้เกิดขึ้นเฉพาะพฤติกรรมที่ต้องการแสดงออกเท่านั้น แม้ในเวลาที่ไม่มีพฤติกรรมที่สังเกตได้การเรียนรู้ก็ยังสะสมอยู่ จนในที่สุดก็ถึงขั้นที่มีพฤติกรรมเปลี่ยนไป
1.2 การเสริมแรงขั้นที่สอง เกิดจากการถ่ายโยงการเรียนรู้ ถ้าการเรียนรู้ใหม่คล้ายคลึงกับการเรียนรู้เดิม ผู้เรียนจะสามารถตอบสนองต่อการเรียนรู้ใหม่นั้น เหมือนเดิมหรือคล้ายคลึงกับเมื่อตอบสนองต่อการเรียนรู้เดิม
นอกจากนี้ยังมีองค์ประกอบอื่นที่จำเป็นในการเรียนรู้คือ
ก. ความสามารถ (Capacity) แต่ละบุคคลมีความสามารถในการเรียนรู้ต่างกันขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายอย่างเช่น เชาว์ปัญญา ความถนัด เป็นต้น
ข. การจูงใจ (Motivation) เป็นการช่วยให้เกิดพฤติกรรมการเรียนรู้ขึ้นโดยการสร้างแรงขับให้เกิดขึ้น
ในตัวผู้เรียน
ค. ความเข้าใจ (Understanding) การเรียนรู้โดยสร้างความเข้มใจในเรื่องที่เรียน เมื่อประสบปัญหาที่
คล้ายคลึงกันก็สมารถจะทำความเข้าใจโดยอาศัยประสบการณ์เดิม
ง. การลืม อัลล์อธิบายการลืมในเรื่องของการไม่ได้นำไปใช้ (Law of Disused) เมื่อเวลาผ่านไป
ผู้เรียนไม่ได้นำสิ่ง ที่ได้เรียนรู้ไปใช้ก็จะเกิดการลืมขึ้น
การนำไปใช้ในการเรียนการสอน
การนำไปใช้ในการเรียนการสอน จากกฎการเรียนรู้ตามแนวความคิดของฮัลล์ สามารถนำมาใช้ในการจัดการเรียนการสอนได้ คือ
1. ผู้สอนสร้างแรงขับให้เกิดขึ้นมาก ๆ แก่ผู้เรียนแล้วเมื่อมีการตอบสนองตามที่ต้องการ ต้องรีบ
เสริมแรงทันที จึงจะทำให้พฤติกรรมการเรียนรู้เข้มขันและคงทนถาวรอยู่เรื่อย ๆ
2.เมื่อผู้เรียนเกิดความเหนื่อยล้าในบทเรียน ควรจะมีเวลาพักก่อนแล้วจึงเรียนต่อไป ระยะเวลาที่เหมาะ
สำหรับผู้เรียนในวัยผู้ใหญ่แล้ว ที่ไม่ทำให้เกิดความเหนื่อยล้าประมาณช่วงเวลาละ 50 นาที
3.เมื่อผู้เรียนใกล้จะเรียนรู้และมีความตั้งใจมาก ควรจะให้การเสริมแรงถี่ขึ้น
4.ควรให้พยายามเรียนรู้ด้วยตนเอง จะทำให้เข้าใจใจสิ่งที่เรียนมากขึ้น และสามารถตอบสนองได้
หลายรูปแบบ
5.การให้ผู้เรียนเกอดการเรียนรู้ที่ดีต้องพิจารณาถึงสิ่งต่อไปนี้ คือความสามารถของผู้เรียนใจ
แต่ละบุคคล การสร้างความเข้าใจให้เกอดขึ้นมาก ๆ ในบทเรียนเมื่อเรียนรู้แล้วต้องให้ผู้เรียนคิดหรือกระทำ
บ่อย ๆ เพื่อป้องกันการลืม และพยายามให้ผู้เรียนรู้จักถ่ายโยงการเรียนรู้ในสิ่งที่คล้ายคลึงกันจากบทเรียนหนึ่งไปสู่อีกบทเรียนหนึ่ง
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น